- สามารภใช้ heredoc syntax ในการสร้าง string เช่น
$s = "This is something "; $s .= "that will make "; $s .= "a long string, with "; $s .= "a variable: $x.";
เป็น
$s = <<;
- วิธีเอาตัวแปรเข้าไปแทนค่าใน string ควรใช้เครื่องหมาย “{}” (curly braces) ครอบเช่น
$x = "Something with {$y['key']} and {$z}.";
- หากต้องการใช้ array ใน programของเรา ควรจะใช้ associative arrays เช่น
$pages = array( 'index' => 'startPage.php', 'contact' => 'sendForm.php' ); // could do some function here $thePage = 'contact'; $theAddress = $pages[$thePage];
- การทำ shortcut “else” วิธีนี้เป็นการกำหนดค่า defualt ก่อนเข้า เงื่อนไข ทำให้ program ไม่ต้องทำคำสั่ง else เช่น
if( this condition ) { $x = 5; } else { $x = 10; }
เป็น
$x = 10; if( this condition ) { $x = 5; }
- การเข้าถึง array ควรจะใช้ “foreach” โดยเฉพาะการแก้ไขข้อมูลภายใน array เช่น
$arr = array(0,1,2,3,4,5,6,7,8,9); foreach($arr as $key => $num) { if($num==5) { $arr[$key]=0; } } print_r($arr);
- การใช้ swicth บางครั้งเราอาจจะลืม break; เช่น
switch($x) { case 'one': ...; break; case 'two': ...; break; default: ...; break; }
เราสามารถเขียนได้โดย ใช break แค่ครั้งเดียว หรือ บางครั้งถ้าเราต้องการกำหนด หลายๆเงื่อนไขใน case เดียว สามารถทำได้โดย
case 'one': case 'two': ...; break;