jQuery ( expression, [context] )
expression ก็คือ selector อย่างที่ได้ทราบจาก step by step (1) นั่นเองครับ
โดย default แล้ว context จะมีค่าเป็น document หรือข้อมูลของเว็บหน้าที่บรรจุโค้ด jQuery ทั้งหน้าเลยครับ
อย่างเช่น
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
expression ก็คือ selector อย่างที่ได้ทราบจาก step by step (1) นั่นเองครับ
โดย default แล้ว context จะมีค่าเป็น document หรือข้อมูลของเว็บหน้าที่บรรจุโค้ด jQuery ทั้งหน้าเลยครับ
อย่างเช่น
jQuery เป็น javascript framework ที่ช่วยให้การเขียน
dynamic html, DOM, AJAX เขียนสั้นกว่าเดิมแต่เขียนได้ง่ายกว่า
แล้วยังเขียนแล้ว Cross-browser IE 6.0+, FF 2+, Safari 2.0+, Opera 9.0+ อีก
เรียกว่าเขียนแล้วแทบไม่ต้องไปทดสอบกันทีละ browser เลย
( ถ้าใช้ css ผ่าน jquery ทั้งหมดไม่ต้องทดสอบเลย เพราะว่า jquery สนับสนุน css 3.0 แล้ว
เรียกได้ว่าข้ามขีดจำกัดของ browser กันเลยทีเดียว แต่ถ้าเขียน css ธรรมดาประกอบด้วยก็ต้องทดสอบอยู่ดี..แป่ว )
ดาวน์โหลด jquery.js เวอร์ชั่นล่าสุดจาก http://www.jquery.com
=======================================================
- สามารภใช้ heredoc syntax ในการสร้าง string เช่น
$s = "This is something "; $s .= "that will make "; $s .= "a long string, with "; $s .= "a variable: $x.";
เป็น
$s = <<;
- วิธีเอาตัวแปรเข้าไปแทนค่าใน string ควรใช้เครื่องหมาย “{}” (curly braces) ครอบเช่น
$x = "Something with {$y['key']} and {$z}.";
- หากต้องการใช้ array ใน programของเรา ควรจะใช้ associative arrays เช่น
$pages = array( 'index' => 'startPage.php', 'contact' => 'sendForm.php' ); // could do some function here $thePage = 'contact'; $theAddress = $pages[$thePage];
- การทำ shortcut “else” วิธีนี้เป็นการกำหนดค่า defualt ก่อนเข้า เงื่อนไข ทำให้ program ไม่ต้องทำคำสั่ง else เช่น
if( this condition ) { $x = 5; } else { $x = 10; }
เป็น
$x = 10; if( this condition ) { $x = 5; }
- การเข้าถึง array ควรจะใช้ “foreach” โดยเฉพาะการแก้ไขข้อมูลภายใน array เช่น
$arr = array(0,1,2,3,4,5,6,7,8,9); foreach($arr as $key => $num) { if($num==5) { $arr[$key]=0; } } print_r($arr);
- การใช้ swicth บางครั้งเราอาจจะลืม break; เช่น
switch($x) { case 'one': ...; break; case 'two': ...; break; default: ...; break; }
เราสามารถเขียนได้โดย ใช break แค่ครั้งเดียว หรือ บางครั้งถ้าเราต้องการกำหนด หลายๆเงื่อนไขใน case เดียว สามารถทำได้โดย
case 'one': case 'two': ...; break;
Opera เปิดตัวเทคโนโลยี Opera Turbo ซึ่งจะช่วยบีบอัดขนาดของเว็บเพจลงได้สูงสุดถึง 80%
การทำงานจะคล้ายๆ กับพร็อกซี คือเว็บเพจจะต้องผ่านเซิร์ฟเวอร์ของ Opera (เรียกว่า “Opera Turbo Server”) ก่อนจะบีบอัดแล้วส่งไปให้ตัวเบราว์เซอร์ที่สนับสนุนความสามารถนี้ ซึ่งได้แก่ Opera Desktop, Opera Mobile และ Opera Devices SDK (เช่น บนทีวีหรือเครื่องเกม)
จากผลทดสอบที่ Opera นำมาโชว์ บนคอมพิวเตอร์ปกติจะลดขนาดเว็บเพจลงได้ 71% (กรณีที่ดีที่สุด) ส่วนบนมือถือได้ 80% ก่อนหน้านี้ Opera ใช้เทคนิคลักษณะเดียวกันกับ Opera Mini มาแล้ว ผมยังหาข้อมูลไม่พบว่าถ้าใช้เบราว์เซอร์ Opera แบบปกติอยู่ จะติดตั้งความสามารถ Opera Turbo เพิ่มเข้าไปได้อย่างไร (คาดว่าจะอยู่ในรูปปลั๊กอิน ก่อนจะรวมเข้าเป็นฟีเจอร์มาตรฐานในเวอร์ชันหน้า)
อย่างไรก็ตามมีข้อพึงระวัง เพราะใน whitepaper (PDF - หน้า 6) ของ Opera Turbo ระบุว่าจุดขายอันหนึ่งคือ การท่องเว็บผ่าน Opera Turbo จะช่วยให้โอเปอเรเตอร์มือถือสามารถดูพฤติกรรมการใช้เว็บของลูกค้าได้ด้วย
ที่มา - Opera
แม้จะเงียบๆ ไปบ้างแต่เอเอ็มดีก็การเปิดตัวชิป Phenom II ก็น่าจะช่วยให้แฟนๆ หายคิดถึงเอเอ็มดีกันไปบ้าง
ชิป Phenom II เป็นซีพียูตัวแรกของเอเอ็มดีที่รองรับหน่วยความจำแบบ DDR3 เช่นเดียวกับ Core i7 ของอินเทล แต่ต่างกันที่ Phenom II นั้นทำงานแบบ dual channel ส่วนของอินเทลนั้นเป็น triple channel ทำให้ได้เปรียบเมื่อทำงานกับแอพลิเคชั่นที่ต้องการการใช้งานหน่วยความจำสูง มากๆ
ตัวชิปมีให้เลือกทั้ง AM2+ และ AM3 สำหรับผู้ใช้เดิมที่ใช้เมนบอร์ด AM2+ อยู่แล้วสามารถเลือกอัพเกรดได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนเมนบอร์ดใหม่ แต่ต้องใช้หน่วยความจำแบบ DDR2 ต่อไป
ราคาเริ่มต้นตั้งแต่ 125 ดอลลาร์สำหรับ Phenom II X3 710 และขึ้นไปจนถึง 225 ดอลลาร์สำหรับ Phenom II X4 940 ‘Black Edition’
ที่มา - ChannelWeb, AMD
ช่วยลดเนื้อที่และการติดต่อ Database
Ruby 1.9 นั้นได้รับการปรับปรุงเรื่องประสิทธิภาพเป็นอย่างมาก (เค้าโฆษณาว่าเป็น the Fastest Ruby Ever) เพราะว่าเปลี่ยนมาใช้ YARV เพียงแต่ระบบเลขเวอร์ชันของ Ruby นั้น จะเริ่มนับว่าเป็นรุ่นเสถียรใน point release (1.9.x)
ดังนั้น Ruby 1.9.1 จึงถือเป็นรุ่นแรกในสาย 1.9 ที่แนะนำให้นำไปใช้ในงานจริงได้ และถือว่าเป็นรุ่นที่มาแทน Ruby 1.8.7 อย่างไรก็ตาม Ruby สาย 1.8.x ก็จะยังพัฒนาอยู่ โดยมีแผนจะออก 1.8.8 ช่วงปลายปีนี้
รายการเปลี่ยนแปลงดูได้จาก CHANGELOG นอกจากนี้ยังมีข่าวว่า JRuby 1.2 จะใช้ไลบรารีของ Ruby 1.9.1 เป็นมาตรฐาน
ที่มา - Ruby Inside